คู่กรณี
Thai
Pronunciation
Orthographic | คู่กรณี g ū ˋ k r ɳ ī | ||
Phonemic | คู่-กะ-ระ-นี g ū ˋ – k a – r a – n ī | คู่-กอ-ระ-นี g ū ˋ – k ɒ – r a – n ī | |
Romanization | Paiboon | kûu-gà-rá-nii | kûu-gɔɔ-rá-nii |
Royal Institute | khu-ka-ra-ni | khu-ko-ra-ni | |
(standard) IPA(key) | /kʰuː˥˩.ka˨˩.ra˦˥.niː˧/(R) | /kʰuː˥˩.kɔː˧.ra˦˥.niː˧/(R) |
Noun
คู่กรณี • (kûu-gà-rá-nii) (classifier ฝ่าย or คน)
- party (to an action, affair, incident, etc).
- 2017 April 7, สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, “ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์”, in ห้องสมุดกฎหมาย, Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, retrieved 2019-01-14:
- มาตรา ๑๖๑ ถ้ากลฉ้อฉลเป็นแต่เพียงเหตุจูงใจให้คู่กรณีฝ่ายหนึ่งยอมรับข้อกำหนดอันหนักยิ่งกว่าที่คู่กรณีฝ่ายนั้นจะยอมรับโดยปกติ คู่กรณีฝ่ายนั้นจะบอกล้างการนั้นหาได้ไม่ แต่ชอบที่จะเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจากกลฉ้อฉลนั้นได้
- mâat-dtraa · nʉ̀ng-rɔ́ɔi hòk-sìp èt · tâa gon-chɔ̂ɔ-chǒn bpen dtɛ̀ɛ piiang hèet juung-jai hâi kûu-gà-rá-nii fàai nʉ̀ng yɔɔm-ráp kɔ̂ɔ-gam-nòt an nàk yîng gwàa tîi kûu-gà-rá-nii fàai nán jà yɔɔm-ráp dooi bpà-gà-dtì · kûu-gà-rá-nii fàai nán jà bɔ̀ɔk-láang gaan nán hǎa dâai mâi · dtɛ̀ɛ chɔ̂ɔp tîi jà rîiak ao kâa-sǐn-mǎi-tót-tɛɛn pʉ̂ʉa kwaam-sǐia-hǎai an gə̀ət jàak gon-chɔ̂ɔ-chǒn nán dâai
- Section 161 If the fraud is merely a cause by which a party is moved to accept a requirement which is heavier than that which the party would normally accept, the party cannot avoid his act but is entitled to claim compensation for the damage arising from such fraud.
- มาตรา ๑๖๑ ถ้ากลฉ้อฉลเป็นแต่เพียงเหตุจูงใจให้คู่กรณีฝ่ายหนึ่งยอมรับข้อกำหนดอันหนักยิ่งกว่าที่คู่กรณีฝ่ายนั้นจะยอมรับโดยปกติ คู่กรณีฝ่ายนั้นจะบอกล้างการนั้นหาได้ไม่ แต่ชอบที่จะเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจากกลฉ้อฉลนั้นได้
- 1972, ไชยยศ เหมะรัชตะ, “นิติกรรมอำพราง”, in CUIR at Chulalongkorn University (pdf), Bangkok: บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, retrieved 2019-01-14, page ง:
- คู่กรณีทำนิติกรรมซ้อนกันไว้สองอัน อันหนึ่งเรียกว่า นิติกรรมอำพราง อีกอันหนึ่งเรียกว่า นิติกรรมที่ถูกอำพราง นิติกรรมอำพรางนั้นคู่กรณีทำขึ้นโดยเปิดเผย...ความจริงแล้วคู่กรณีไม่ต้องการให้มีผลผูกพันหรือบังคับ...(เพื่อ)ปกปิดหรืออำพรางนิติกรรมอีกอันหนึ่งซึ่งเป็นนิติกรรมที่คู่กรณีประสงค์จะให้ผูกพันกันอย่างแท้จริง
- kûu-gà-rá-nii tam ní-dtì-gam sɔ́ɔn gan wái sɔ̌ɔng an · an nʉ̀ng rîiak wâa · ní-dtì-gam-am-praang · ìik an nʉ̀ng rîiak wâa · ní-dtì-gam tîi tùuk am-praang · ní-dtì-gam-am-praang nán kûu-gà-rá-nii tam kʉ̂n dooi bpə̀ət-pə̌əi ... kwaam-jing lɛ́ɛo kûu-gà-rá-nii mâi dtɔ̂ng-gaan hâi mii pǒn pùuk-pan rʉ̌ʉ bang-káp ... (pʉ̂ʉa) bpòk-bpìt rʉ̌ʉ am-praang ní-dtì-gam ìik an nʉ̀ng sʉ̂ng bpen ní-dtì-gam tîi kûu-gà-rá-nii bprà-sǒng jà hâi pùuk-pan gan yàang tɛ́ɛ-jing
- The parties have performed two overlapping juristic acts: one called hiding juristic act, the other called hidden juristic act. The hiding juristic act has been done by the parties in an open manner...[despite] the fact that the parties did not want [any] binding or effective result [therefrom]... [This act was for] concealing or hiding the other juristic act, which is the juristic act the parties wished to be bound by actually.
- คู่กรณีทำนิติกรรมซ้อนกันไว้สองอัน อันหนึ่งเรียกว่า นิติกรรมอำพราง อีกอันหนึ่งเรียกว่า นิติกรรมที่ถูกอำพราง นิติกรรมอำพรางนั้นคู่กรณีทำขึ้นโดยเปิดเผย...ความจริงแล้วคู่กรณีไม่ต้องการให้มีผลผูกพันหรือบังคับ...(เพื่อ)ปกปิดหรืออำพรางนิติกรรมอีกอันหนึ่งซึ่งเป็นนิติกรรมที่คู่กรณีประสงค์จะให้ผูกพันกันอย่างแท้จริง
- 2017, กองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลฎีกา, “คำพิพากษาย่อสั้น”, in คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๐๘๓๔/๒๕๕๖, Bangkok: ค้นหาคำพิพากษาศาลฎีกา, retrieved 2019-01-14:
- (แม้) นิติกรรมขายฝากจะเป็นนิติกรรมระหว่างโจทก์กับจำเลย ส่วนนิติกรรมการกู้ยืมเป็นนิติกรรมระหว่าง อ. กับจำเลย ก็ถือได้ว่า คู่กรณีในนิติกรรมทั้งสองนิติกรรมนั้นเป็นคู่กรณีเดียวกัน ฟังได้ว่า นิติกรรมขายฝากเป็นนิติกรรมอำพรางการกู้ยืม จึงตกเป็นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๕ วรรคหนึ่ง
- (mɛ́ɛ) · ní-dtì-gam kǎai-fàak jà bpen ní-dtì-gam rá-wàang jòot gàp jam-ləəi · sùuan ní-dtì-gam gaan-gûu-yʉʉm bpen ní-dtì-gam rá-wàang · à · gàp jam-ləəi · gɔ̂ tʉ̌ʉ dâai wâa · kûu-gà-rá-nii nai ní-dtì-gam táng sɔ̌ɔng ní-dtì-gam nán bpen kûu-gà-rá-nii diao-gan · fang dâai wâa · ní-dtì-gam kǎai-fàak bpen ní-dtì-gam-am-praang gaan-gûu-yʉʉm · jʉng dtòk bpen moo-ká dtaam · bprà-muuan-gòt-mǎai-pɛ̂ng-lɛ́-paa-nít · mâat-dtraa · nʉ̀ng-rɔ́ɔi hâa-sìp hâa · wák nʉ̀ng
- (Although) the juristic act of hire-purchase is a juristic act between the Plaintiff and the Defendant and the juristic act of loan is a juristic act between A and the Defendant, it could be deemed that the parties to the two juristic acts are the same parties. The juristic act of hire-purchase is thus considered a juristic act that hides the loan and becomes void in accordance with CCC, § 155, ¶ 1.
- (แม้) นิติกรรมขายฝากจะเป็นนิติกรรมระหว่างโจทก์กับจำเลย ส่วนนิติกรรมการกู้ยืมเป็นนิติกรรมระหว่าง อ. กับจำเลย ก็ถือได้ว่า คู่กรณีในนิติกรรมทั้งสองนิติกรรมนั้นเป็นคู่กรณีเดียวกัน ฟังได้ว่า นิติกรรมขายฝากเป็นนิติกรรมอำพรางการกู้ยืม จึงตกเป็นโมฆะตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๕๕ วรรคหนึ่ง
This article is issued from Wiktionary. The text is licensed under Creative Commons - Attribution - Sharealike. Additional terms may apply for the media files.