เมษายน
Thai
Etymology
From เมษ (mêet, “ram; sheep”) + อายน (“arrival”); literally "arrival of the ram (Aries)"; believed to have been coined by Thewawong Waropakan (1858–1923) together with Phraya Si Sunthon Wohan (Noi Acharayangkun) (1822–1891);[1] first used officially in the edict of Rama V dated 1 April 1890.[2]
Pronunciation
Orthographic | เมษายน e m ʂ ā y n | |||
Phonemic | เม-สา-ยน e m – s ā – y n | [bound form] เม-สา-ยน- e m – s ā – y n – | [bound form] เม-สา-ยน-นะ- e m – s ā – y n – n a – | |
Romanization | Paiboon | mee-sǎa-yon | mee-sǎa-yon- | mee-sǎa-yon-ná- |
Royal Institute | me-sa-yon | me-sa-yon- | me-sa-yon-na- | |
(standard) IPA(key) | /meː˧.saː˩˩˦.jon˧/(R) | /meː˧.saː˩˩˦.jon˧./ | /meː˧.saː˩˩˦.jon˧.na˦˥./ |
Proper noun
เมษายน • (mee-sǎa-yon)
- (เดือน~, ~มาส) April: the fourth month of the year under the solar calendar.
- 2017 April 6, “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พุทธศักราช ๒๕๖๐) [Constitution of the Kingdom of Thailand (2560 Buddhist Era)]”, in ราชกิจจานุเบกษา [Royal Thai Government Gazette], volume 134, number 40 A (pdf), Bangkok: สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, archived from the original on 7 April 2017, page 1:
- ศุภมัสดุ พระพุทธศาสนกาลเป็นอดีตภาค ๒๕๖๐ พรรษา ปัจจุบันสมัย จันทรคตินิยม กุกกุฏสมพัตสร จิตรมาส ชุณหปักษ์ ทสมีดิถี สุริยคติกาลเมษายนมาส ฉัฏฐสุรทิน ครุวาร
- sùp-pá-mát-sà-dù · prá pút-tá-sàat-sà-ná-gaan bpen à-dìit-dtà-pâak · sɔ̌ɔng-pan hâa-rɔ́ɔi hòk sìp · pan-sǎa · bpàt-jù-ban-ná-sà-mǎi · jan-trá-ká-dtì ní-yom · gùk-gù-dtà sǒm-pát-sɔ̌ɔn · jìt-dtrà mâat · chun-hà-bpàk · tót-sà-mii dì-tǐi · sù-rí-yá-ká-dtì gaan mee-sǎa-yon-ná mâat · chàt-tà sù-rá-tin · ká-rú-waan
- May there be virtue. The time of the Holy Buddhist Religion had passed for 2,560 years. At this present moment, it was the 10th day of the waxing moon of the month Citra of the Year of the Rooster in the lunar fashion, or the Day of the Master [Thursday], the 6th solar day of the month April, under the solar calendar.
- ศุภมัสดุ พระพุทธศาสนกาลเป็นอดีตภาค ๒๕๖๐ พรรษา ปัจจุบันสมัย จันทรคตินิยม กุกกุฏสมพัตสร จิตรมาส ชุณหปักษ์ ทสมีดิถี สุริยคติกาลเมษายนมาส ฉัฏฐสุรทิน ครุวาร
- 2013, สุภฤกษ์ บุญทอง, สะบายดี ลาว ฉบับการ์ตูน: หนังสือชุดอาเซียน, Bangkok: Skybook, →ISBN, page 21:
- 2012, สุภฤกษ์ บุญทอง, สวัสดีเมืองไทย: สวัสดีเมืองไทย มารู้จักเมืองไทย กันเถอะ, Bangkok: Skybook, →ISBN, page 23:
- 2010, ประชาคม ลุนาชัย, ฝั่งแสงจันทร์: ชุดประชาคม ลุนาชัย, Bangkok: Nanmeebooks, →ISBN, page 201:
- ฤดูลมร้อนเดือนเมษายน ไม่เพียงบนฝั่งเท่านั้นที่แล้งแห้ง ตลอดอ่าวไทยด้านทิศเหนือพลอยแล้งไร้ฝูงปลาทูไปด้วย
- rʉ́-duu lom rɔ́ɔn dʉʉan mee-sǎa-yon · mâi piiang bon fàng tâo-nán tîi lɛ́ɛng-hɛ̂ɛng · dtà-lɔ̀ɔt àao-tai dâan tít nʉ̌ʉa plɔɔi lɛ́ɛng rái fǔung bplaa tuu bpai dûai
- During the hot wind period of the month April, not only the seashore became arid, [the waters] across the north side of the Gulf of Thailand also became dried up, making groups of short mackerels less seen.
- ฤดูลมร้อนเดือนเมษายน ไม่เพียงบนฝั่งเท่านั้นที่แล้งแห้ง ตลอดอ่าวไทยด้านทิศเหนือพลอยแล้งไร้ฝูงปลาทูไปด้วย
See also
- (Gregorian calendar months) มกราคม (má-gà-raa-kom), กุมภาพันธ์ (gum-paa-pan), มีนาคม (mii-naa-kom), เมษายน (mee-sǎa-yon), พฤษภาคม (prʉ́t-sà-paa-kom), มิถุนายน (mí-tù-naa-yon), กรกฎาคม (gà-rá-gà-daa-kom), สิงหาคม (sǐng-hǎa-kom), กันยายน (gan-yaa-yon), ตุลาคม (dtù-laa-kom), พฤศจิกายน (prʉ́t-sà-jì-gaa-yon), ธันวาคม (tan-waa-kom) (Category: th:Gregorian calendar months)
References
- ส.พลายน้อย (2019 April 12) “ชื่อ "วัน–เดือน" ของไทยมาจากไหน การใช้วันที่ ๑, ๒, ๓... เริ่มเมื่อใด?”, in ศิลปวัฒนธรรม (in Thai), Bangkok: มติชน, retrieved 2020-01-01
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (1890 April 1) “พระบรมราชโองการประกาศให้ใช้วันอย่างใหม่ [ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้การนับวันเดือนปีตามสุริยคติ และสถาปนารัตนโกสินทรศกขึ้น ทั้งนี้ วัน ๒ เดือน ๕ ขึ้น ๑ ค่ำ ปีฉลู ยังเป็นสัมฤทธิศก จุลศักราช ๑๒๕๐ ถือเป็นวันที่ ๑ เมษายน รัตนโกสินทรศก ๑๐๘]”, in ราชกิจจานุเบกษา (in Thai), volume 5, number 52, Bangkok: โรงพิมพ์อักษรพิมพการ, retrieved 2020-01-01, pages 451–456
This article is issued from Wiktionary. The text is licensed under Creative Commons - Attribution - Sharealike. Additional terms may apply for the media files.