ผู้เสียหาย
Thai
Etymology
From ผู้ (pûu, “agent noun prefix”) + เสียหาย (sǐia-hǎai, “to suffer injury; to suffer damage”).
Pronunciation
Orthographic | ผู้เสียหาย pʰ ū ˆ e s ī y h ā y | |
Phonemic | พู่-เสีย-หาย b ū ˋ – e s ī y – h ā y | |
Romanization | Paiboon | pûu-sǐia-hǎai |
Royal Institute | phu-sia-hai | |
(standard) IPA(key) | /pʰuː˥˩.sia̯˩˩˦.haːj˩˩˦/(R) |
Noun
ผู้เสียหาย • (pûu-sǐia-hǎai) (classifier คน or ราย)
- (law) victim; injured person; injured party.
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2013 February 19) “พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙”, in ห้องสมุดกฎหมาย (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 18 January 2019
- มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ ในกรณีนี้ ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
- mâat-dtraa · hâa · nùai-ngaan-kɔ̌ɔng-rát dtɔ̂ng ráp-pìt dtɔ̀ɔ pûu-sǐia-hǎai nai pǒn hɛ̀ng lá-mə̂ət tîi jâao-nâa-tîi kɔ̌ɔng dton dâai grà-tam nai gaan-bpà-dtì-bàt nâa-tîi · nai gà-rá-nii níi · pûu-sǐia-hǎai àat fɔ́ɔng nùai-ngaan-kɔ̌ɔng-rát dang glàao dâai dooi-dtrong · dtɛ̀ɛ jà fɔ́ɔng jâao-nâa-tîi mâi dâai
- Section 5 A state agency must be liable to the victim for the consequences of a tort which its own authority has committed in the execution of a duty. In this respect, the victim may lay claim against the said state agency directly, but no claim can be entered against the authority.
- มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ ในกรณีนี้ ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2017 April 7) “ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์”, in ห้องสมุดกฎหมาย (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 12 January 2019
- อนึ่ง ค่าสินไหมทดแทนนั้น ได้แก่ การคืนทรัพย์สินอันผู้เสียหายต้องเสียไปเพราะละเมิด หรือใช้ราคาทรัพย์สินนั้นรวมทั้งค่าเสียหายอันจะพึงบังคับให้ใช้เพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ อันได้ก่อขึ้นนั้นด้วย
- à-nʉ̀ng · kâa-sǐn-mǎi-tót-tɛɛn nán · dâai-gɛ̀ɛ · gaan-kʉʉn sáp-sǐn an pûu-sǐia-hǎai dtɔ̂ng sǐia bpai prɔ́ lá-mə̂ət · rʉ̌ʉ chái raa-kaa sáp-sǐn nán ruuam-táng kâa-sǐia-hǎai an jà pʉng bang-káp hâi chái pʉ̂ʉa kwaam-sǐia-hǎai yàang dai dai an dâai gɔ̀ɔ kʉ̂n nán dûai
- In addition, such compensation includes the return of the property of which the injured person has been deprived through a tort or the payment of the value of that property as well as damages of which the payment may be enforced for any injury so caused.
- อนึ่ง ค่าสินไหมทดแทนนั้น ได้แก่ การคืนทรัพย์สินอันผู้เสียหายต้องเสียไปเพราะละเมิด หรือใช้ราคาทรัพย์สินนั้นรวมทั้งค่าเสียหายอันจะพึงบังคับให้ใช้เพื่อความเสียหายอย่างใด ๆ อันได้ก่อขึ้นนั้นด้วย
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2016 December 15) “ประมวลวิธีพิจารณาความอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 3 October 2019
- มาตรา ๔ ในคดีอาญาซึ่งผู้เสียหายเป็นหญิงมีสามี หญิงนั้นมีสิทธิฟ้องคดีได้เองโดยมิต้องได้รับอนุญาตของสามีก่อน
- mâat-dtraa · sìi · nai ká-dii aa-yaa sʉ̂ng pûu-sǐia-hǎai bpen yǐng mii sǎa-mii · yǐng nán mii sìt-tí fɔ́ɔng ká-dii dâai eeng dooi mí dtɔ̂ng dâai ráp à-nú-yâat kɔ̌ɔng sǎa-mii gɔ̀ɔn
- Section 4 As for a criminal case in which the victim is a married woman, that woman has the right to institute the case by herself without having to obtain prior permission from her husband.
- มาตรา ๒๘ บุคคลเหล่านี้มีอำนาจฟ้องคดีอาญาต่อศาล (๑) พนักงานอัยการ (๒) ผู้เสียหาย
- mâat-dtraa · yîi-sìp bpɛ̀ɛt · bùk-kon lào-níi mii am-nâat fɔ́ɔng ká-dii aa-yaa dtɔ̀ɔ sǎan · (nʉ̀ng) · pá-nák-ngaan-ai-yá-gaan · (sɔ̌ɔng) · pûu-sǐia-hǎai
- Section 28 These persons have the power to institute criminal cases in court: (1) public prosecutors; (2) the victims.
- มาตรา ๑๒๓ ผู้เสียหายอาจร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนได้
- mâat-dtraa · nʉ̀ng-rɔ́ɔi yîi-sìp sǎam · pûu-sǐia-hǎai àat rɔ́ɔng-túk dtɔ̀ɔ pá-nák-ngaan-sɔ̀ɔp-sǔuan dâai
- Section 123 A victim may complain before an inquiry official.
- มาตรา ๔ ในคดีอาญาซึ่งผู้เสียหายเป็นหญิงมีสามี หญิงนั้นมีสิทธิฟ้องคดีได้เองโดยมิต้องได้รับอนุญาตของสามีก่อน
- สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (2013 February 19) “พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙”, in ห้องสมุดกฎหมาย (in Thai), Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, archived from the original on 18 January 2019
This article is issued from Wiktionary. The text is licensed under Creative Commons - Attribution - Sharealike. Additional terms may apply for the media files.