ร้อง
See also: รอง
Thai
Etymology
From Proto-Southwestern Tai *rɔːŋꟲ⁴ (“to shout; to cry”). Cognate with Isan ฮ้อง (hɔɔŋ⁵), Lao ຮ້ອງ (hǭng), Northern Thai ᩁᩬ᩶ᨦ (hɔɔŋ⁶), Khün ᩁᩬ᩶ᨦ (hɔɔŋ⁶), Lü ᦣᦸᧂᧉ (hoang²), Tai Dam ꪭ꫁ꪮꪉ (ꞌhọng), Shan ႁွင်ႉ (hâ̰ung), Tai Nüa ᥞᥩᥒᥳ (hȯang), Khamti ꩭွင်ႇ, Phake ꩭွင် (hoṅ), Ahom 𑜍𑜨𑜂𑜫 (roṅ), Zhuang rongx.
Pronunciation
Orthographic/Phonemic | ร้อง r ˆ ɒ ŋ | |
Romanization | Paiboon | rɔ́ɔng |
Royal Institute | rong | |
(standard) IPA(key) | /rɔːŋ˦˥/(R) |
Verb
ร้อง • (rɔ́ɔng) (abstract noun การร้อง)
- to utter or emit loud sounds: to cry, to roar, etc.
- 1681, “พระราชพงษาวดาร”, in พระราชพงษาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทย, published 1907, page 10:
- ช้างต้นพระฉัททันต์ไล่ร้องเปนเสียงสังข์ อนึ่ง ประตูไพชยนต์ร้องเปนอุบาทว์
- cháang dtôn prá chàt-tan lâi rɔ́ɔng bpen sǐiang sǎng · à-nʉ̀ng · bprà-dtuu pai-chá-yon rɔ́ɔng bpen ù-bàat
- The royal elephant Phra Chatthan kept trumpeting like the sounds of a conch. Moreover, the Gate of Phaichayon groaned as an ill omen.
- ช้างต้นพระฉัททันต์ไล่ร้องเปนเสียงสังข์ อนึ่ง ประตูไพชยนต์ร้องเปนอุบาทว์
- 1995, เหม เวชกร, “ผีปอบ”, in เปิดกรุผีไทย, volume 2, กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า, →ISBN, page 107:
- to call or say loudly: to cry, to shout, to yell, etc.
- 1912, “แผ่นดินที่ ๑๖ ขุนวรวงษาธิราช”, in ดำรงราชานุภาพ, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ, editor, พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัดถเลขา, volume 1, กรุงเทพฯ, page 23:
- ขุนวรวงษาธิราชร้องไปว่า เรือใครตรงเข้ามา ขุนพิเรนทรเทพก็ร้องตอบไปว่า กูจะมาเอาชีวิตเองทั้งสอง
- kǔn wɔɔ-rá wong-sǎa-tí-râat rɔ́ɔng bpai wâa · rʉʉa krai dtrong kâo maa · kǔn pí-reen têep gɔ̂ rɔ́ɔng dtɔ̀ɔp bpai wâa · guu jà maa ao chii-wít eng táng sɔ̌ɔng
- Khun Worawongsathirat cried out to [them]: "Whose boats are heading towards [us]?" Khun Phirenthep then shouted in reply to [him]: "I am here to take the lives of you two!"
- ขุนวรวงษาธิราชร้องไปว่า เรือใครตรงเข้ามา ขุนพิเรนทรเทพก็ร้องตอบไปว่า กูจะมาเอาชีวิตเองทั้งสอง
- 1956, เมธาธิบดี (สาตร สุทธเสถียร), พระยา, “เด็กจับตั๊กแตน”, in นิทานอีสป, พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, page 10:
- to cry; to weep.
- to complain; to file (a complaint or the like).
- 1868, บรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค), สมเด็จเจ้าพระยา, “ประกาศว่าด้วยทาษลูกหนี้ไม่มีเงินดอกเบี้ยเสียแก่เจ้าหนี้นายเงินก็เฆี่ยนลดเงินดอกเบี้ย ๓ ทีต่อตำลึง”, in ประชุมกฎหมายประจำศก, volume 8, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดลิเมล์, published 1935, page 18:
- to request, to apply; to ask, to beg.
- to sing; to chant.
- (of a song) to say; to state; to be sung.
Derived terms
- กรีดร้อง
- ขอร้อง (kɔ̌ɔ-rɔ́ɔng)
- ขับร้อง (kàp-rɔ́ɔng)
- คำร้อง (kam-rɔ́ɔng)
- นักร้อง (nák-rɔ́ɔng)
- เนื้อร้อง (nʉ́ʉa-rɔ́ɔng)
- ป่าวร้อง
- ผู้ถูกร้อง
- ผู้ร้อง
- ฟ้องร้อง (fɔ́ɔng-rɔ́ɔng)
- ร้องขอ
- ร้องป่าว
- ร้องเพลง (rɔ́ɔng-pleeng)
- ร้องฟ้อง
- ร้องรำ
- ร้องรำทำเพลง
- ร้องเรียก (rɔ́ɔng-rîiak)
- ร้องเรียน (rɔ́ɔng-riian)
- ร้องแรก
- ร้องแรกแหกกระเชอ
- ร้องสอด
- ร้องห่ม
- ร้องห่มร้องไห้
- ร้องไห้ (rɔ́ɔng-hâai)
- ร่ำร้อง
- รำร้อง
- เรียกร้อง (rîiak-rɔ́ɔng)
- ละครร้อง (lá-kɔɔn-rɔ́ɔng)
- หวีดร้อง
- โห่ร้อง
This article is issued from Wiktionary. The text is licensed under Creative Commons - Attribution - Sharealike. Additional terms may apply for the media files.