เสรีภาพ
Thai
Alternative forms
Alternative forms
- †เสริภาพ
Etymology
From เสรี (sěe-rii, “free”) + ภาพ (pâap, “state; condition”); calque of English freedom; coined by King Rama VI of Siam (reigned 1910–1925),[1] perhaps before 1920, as the term appears in the Thai translation of the King James Bible which was carried out from 1920 to 1940.
Pronunciation
Orthographic | เสรีภาพ e s r ī bʰ ā b | |
Phonemic | เส-รี-พาบ e s – r ī – b ā ɓ | |
Romanization | Paiboon | sěe-rii-pâap |
Royal Institute | se-ri-phap | |
(standard) IPA(key) | /seː˩˩˦.riː˧.pʰaːp̚˥˩/(R) |
Noun
เสรีภาพ • (sěe-rii-pâap)
- freedom: the power or right to do something as one wants without hindrance or restraint.
- 2017 April 6, “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐”, in ห้องสมุดกฎหมาย, Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, published 2017-04-11, archived from the original on 1 November 2020:
- มาตรา ๒๖ การตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเงื่อนไขไว้ กฎหมายดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม ไม่เพิ่มภาระหรือจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุ และจะกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้
- mâat-dtraa · yîi-sìp hòk · gaan-dtraa gòt-mǎai tîi mii pǒn bpen gaan-jam-gàt sìt-tí rʉ̌ʉ sěe-rii-pâap kɔ̌ɔng bùk-kon dtɔ̂ng bpen-bpai dtaam ngʉ̂ʉan-kǎi tîi ban-yàt wái nai rát-tà-tam-má-nuun · nai gà-rá-nii tîi rát-tà-tam-má-nuun mí dâai ban-yàt ngʉ̂ʉan-kǎi wái · gòt-mǎai dang-glàao dtɔ̂ng mâi kàt dtɔ̀ɔ làk ní-dtì-tam · mâi pə̂əm paa-rá rʉ̌ʉ jam-gàt sìt-tí rʉ̌ʉ sěe-rii-pâap kɔ̌ɔng bùk-kon gəən-sǒm-kuuan-gɛ̀ɛ-hèet · lɛ́ jà grà-tóp dtɔ̀ɔ sàk-sǐi-kwaam-bpen-má-nút kɔ̌ɔng bùk-kon mí dâai
- Section 26 The enactment of a law which [would] result in the restriction of a right or freedom of people must be in line with the conditions that are set forth in the Constitution. In the event that the Constitution has not provided any [such] condition, the said law must not be contrary to the principles of the rule of law, must not excessively increase a burden [on] or restrict the right or freedom of people, and cannot affect the human dignity of people.
- มาตรา ๓๑ บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการถือศาสนาและย่อมมีเสรีภาพในการปฏิบัติหรือประกอบพิธีกรรมตามหลักศาสนาของตน...
- mâat-dtraa · sǎam-sìp èt · bùk-kon yɔ̂m mii sěe-rii-pâap bɔɔ-rí-buun nai gaan-tʉ̌ʉ sàat-sà-nǎa lɛ́ yɔ̂m mii sěe-rii-pâap nai gaan-bpà-dtì-bàt rʉ̌ʉ bprà-gɔ̀ɔp pí-tii-gam dtaam làk sàat-sà-nǎa kɔ̌ɔng dton ...
- Section 31 [Every] person does have the absolute freedom to profess a religion and does have the freedom to observe or conduct rituals according to the principles of his own religion...
- มาตรา ๔๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ การจำกัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทำมิได้...
- mâat-dtraa · sìi-sìp sìi · bùk-kon yɔ̂m mii sěe-rii-pâap nai gaan-chum-num dooi sà-ngòp lɛ́ bpràat-sà-jàak aa-wút · gaan-jam-gàt sěe-rii-pâap dtaam wák nʉ̀ng jà grà-tam mí dâai ...
- Section 44 [Every] person does have the freedom to assemble peacefully and without arms. The restriction of the freedom under paragraph 1 cannot be made...
- มาตรา ๒๖ การตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเงื่อนไขไว้ กฎหมายดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม ไม่เพิ่มภาระหรือจำกัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุ และจะกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้
Related terms
References
- ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ. (๒๕๖๐-๐๓-๐๓). "แนวพระราชดำริเรื่องทาสและเสรีภาพของรัชกาลที่ ๔". ศิลปวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: มติชน. เข้าถึงเมื่อ: ๒๕๖๐-๐๓-๐๓.
This article is issued from Wiktionary. The text is licensed under Creative Commons - Attribution - Sharealike. Additional terms may apply for the media files.