ตู
Southern Thai
Thai
Pronunciation
Orthographic/Phonemic | ตู t ū | |
Romanization | Paiboon | dtuu |
Royal Institute | tu | |
(standard) IPA(key) | /tuː˧/(R) |
Pronoun
ตู • (dtuu)
- (archaic) an exclusive plural first person pronoun:[1][2][3] we.
- 1292/93, พ่อขุนรามคำแหง, “จารึกพ่อขุนรามคำแหง (ด้านที่ ๑)”, in ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๓, Bangkok: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, published 1999, →ISBN, page 8:
- พ่อกูชื่อสรีอีนทราทิตย แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูพี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม ผู้หญิงโสง พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยังเล็ก
- pɔ̂ɔ guu chʉ̂ʉ sǐi in-traa-tít · mɛ̂ɛ guu chʉ̂ʉ naang sʉ̌ʉang · pîi guu chʉ̂ʉ baan mʉʉang · dtuu pîi-nɔ́ɔng tɔ́ɔng diao hâa kon · pûu-chaai sǎam · pûu-yǐng sǒong · pîi pʉ̌ʉa pûu âai dtaai jàak pʉ̌ʉa dtiiam-dtɛ̀ɛ yang lék
- My father is called Si Inthrathit. My mother is called Nang Sueang. My elder brother is called Ban Mueang. We, five brothers and sisters from the same womb, [are] three men [and] two women. Our elder brother, the eldest one, departed from us since [he was/we were] still young.
- พ่อกูชื่อสรีอีนทราทิตย แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูพี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม ผู้หญิงโสง พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยังเล็ก
See also
Archaic Thai personal pronouns
1st | 2nd | 3rd | |||
---|---|---|---|---|---|
Exclusive | Inclusive | ||||
Informal | Singular | กู (guu) | มึง (mʉng) | มัน (man) | |
Dual | เผือ (pʉ̌ʉa) | รา (raa) | เขือ (kʉ̌ʉa) | ขา (kǎa) | |
Plural | ตู (dtuu) | เรา (rao) | สู (sǔu) | เขา (kǎo) | |
Formal | Singular | ข้า (kâa), ตู (dtuu), เรา (rao) | เจ้า (jâao), สู (sǔu) | เพื่อน (pʉ̂ʉan), เขา (kǎo) | |
Plural | ตูข้า | เราข้า | สูเจ้า | เขาเจ้า |
Derived terms
- ตูข้า
Etymology 2
From Proto-Tai *tuːᴬ (“door”). Cognate with Northern Thai ᨲᩪ (old) or ᨸᨲᩪ (modern), Southern Thai ตู, Lao ປະຕູ (pa tū), Shan တူ (tǔu), Bouyei dul, Zhuang dou or du.
References
- วงษ์เทศ, สุจิตต์, editor (1983), สุโขทัยไม่ใช่ราชธานีแห่งแรกของไทย (in Thai), Bangkok: มติชน, →ISBN, page 168: “ตู – เราทั้งหลาย ฉันทั้งหลาย ข้าพเจ้าทั้งหลาย (เป็นพหูพจน์).”
- ราชบัณฑิตยสถาน (2013) พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมัยสุโขทัย ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราช หลักที่ ๑ (in Thai), 3rd edition, Bangkok: ราชบัณฑิตยสถาน, →ISBN, page 43: “ตู ส. สรรพนามบุรุษที่ ๑ พหูพจน์ หมายถึง เราซึ่งเป็นฝ่ายผู้พูด ไม่รวมผู้ฟัง ในความว่า "ตูพี่น้องท้องเดียวห้าคน" (๑/๒).”
- พงศ์ศรีเพียร, วินัย (2009) “เอกสารลำดับที่ ๑ จารึกพ่อขุนรามคำแหง”, in ๑๐๐ เอกสารสำคัญ: สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ ๑ (in Thai), Bangkok: ศักดิ์โสภาการพิมพ์, →ISBN, page 12: “ตู ในที่นี้หมายถึง พวกกูทั้งหลาย (เฉพาะพวกกูผู้พูด) คำว่า เรา แปลว่า พวกเราทั้งหมด (รวมทั้งผู้พูดผู้ฟัง).”
This article is issued from Wiktionary. The text is licensed under Creative Commons - Attribution - Sharealike. Additional terms may apply for the media files.