พฤติการณ์
Thai
Etymology
From พฤติ (“happening, event; affair, business; etc”) + การณ์ (gaan, “event, situation; cause, origin; etc”).
Pronunciation
Orthographic | พฤติการณ์ b ṛ t i k ā r ɳ ʻ | |
Phonemic | พฺรึด-ติ-กาน b ̥ r ụ ɗ – t i – k ā n | |
Romanization | Paiboon | prʉ́t-dtì-gaan |
Royal Institute | phruet-ti-kan | |
(standard) IPA(key) | /pʰrɯt̚˦˥.ti˨˩.kaːn˧/(R) |
Noun
พฤติการณ์ • (prʉ́t-dtì-gaan)
- (formal) circumstance.
- 1999 December 30, “ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย, Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, published 2019-03-21, archived from the original on 4 October 2020:
- มาตรา ๖๓ เมื่อเจ้าพนักงานได้จัดการตามหมายอาญาแล้ว ให้บันทึกรายละเอียดในการจัดการนั้น ถ้าจัดการตามหมายไม่ได้ ให้บันทึกพฤติการณ์ไว้ แล้วให้ส่งบันทึกนั้นไปยังศาลซึ่งออกหมายโดยเร็ว
- mâat-dtraa · hòk-sìp sǎam · mʉ̂ʉa jâao-pá-nák-ngaan dâai jàt-gaan dtaam mǎai-aa-yaa lɛ́ɛo · hâi ban-tʉ́k raai-lá-ìiat nai gaan-jàt-gaan nán · tâa jàt-gaan dtaam mǎai mâi dâai · hâi ban-tʉ́k prʉ́t-dtì-gaan wái · lɛ́ɛo hâi sòng ban-tʉ́k nán bpai yang sǎan sʉ̂ng ɔ̀ɔk mǎai dooi reo
- Section 63 When the public officer has already executed a criminal warrant, [he] shall make a note of the details in [relation to] such execution. If the execution of the warrant is unsuccessful, [he] shall note the circumstances down. Following that, [he] shall forthwith send such note to the court that issued the warrant.
- เมื่อได้รับสำนวนชันสูตรพลิกศพแล้ว ให้พนักงานอัยการทำคำร้องขอต่อศาลชั้นต้นแห่งท้องที่ที่ศพนั้นอยู่ เพื่อให้ศาลทำการไต่สวนและทำคำสั่งแสดงว่า ผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และถึงเหตุและพฤติการณ์ที่ตาย
- mʉ̂ʉa dâai ráp sǎm-nuuan chan-ná-sùut-plík-sòp lɛ́ɛo · hâi pá-nák-ngaan-ai-yá-gaan tam kam-rɔ́ɔng-kɔ̌ɔ dtɔ̀ɔ sǎan-chán-dtôn hɛ̀ng tɔ́ɔng-tîi tîi sòp nán yùu · pʉ̂ʉa hâi sǎan tam gaan-dtài-sǔuan lɛ́ tam kam-sàng sà-dɛɛng wâa · pûu-dtaai kʉʉ krai · dtaai tîi-nǎi · mʉ̂ʉa-dai · lɛ́ tʉ̌ng hèet lɛ́ prʉ́t-dtì-gaan tîi dtaai
- Upon having received the autopsy file, the public prosecutor shall make a request to the court of first instance of the locality where the corpse is, so as to have the court conduct an inquiry and render a demonstrative order as to who the deceased is [and] where [and] when he died [and] as to the cause and circumstances of [his] death.
- มาตรา ๖๓ เมื่อเจ้าพนักงานได้จัดการตามหมายอาญาแล้ว ให้บันทึกรายละเอียดในการจัดการนั้น ถ้าจัดการตามหมายไม่ได้ ให้บันทึกพฤติการณ์ไว้ แล้วให้ส่งบันทึกนั้นไปยังศาลซึ่งออกหมายโดยเร็ว
- 1956 November 13, “ประมวลกฎหมายอาญา”, in ห้องสมุดกฎหมาย, Bangkok: สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, published 2019-05-29, archived from the original on 9 July 2020:
- สมควรปรับปรุงกฎหมายอาญาเสียใหม่เพราะตั้งแต่ได้ประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาในพุทธศักราช ๒๔๕๑ เป็นต้นมา พฤติการณ์ของบ้านเมืองได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นอันมาก
- sǒm-kuuan bpràp-bprung gòt-mǎai aa-yaa sǐia mài prɔ́ dtâng-dtɛ̀ɛ dâai bprà-gàat-chái gòt-mǎai lák-sà-nà aa-yaa nai pút-tá-sàk-gà-ràat · sɔ̌ɔng-pan sìi-pan hâa-sìp èt · bpen-dtôn-maa · prʉ́t-dtì-gaan kɔ̌ɔng bâan-mʉʉang dâai bplìian-bplɛɛng bpai bpen-an-mâak
- [Whereas it is] appropriate to revise criminal laws anew for the reason that the circumstances of the Nation have considerably changed since the Penal Code was promulgated in 2451 Buddhist Era;
- มาตรา ๖๔ บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายเพื่อให้พ้นจากความรับผิดในทางอาญาไม่ได้ แต่ถ้าศาลเห็นว่า ตามสภาพและพฤติการณ์ ผู้กระทำความผิดอาจจะไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิด ศาลอาจอนุญาตให้แสดงพยานหลักฐานต่อศาล และถ้าศาลเชื่อว่า ผู้กระทำไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติไว้เช่นนั้น ศาลจะลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดไว้สำหรับความผิดนั้นเพียงใดก็ได้
- mâat-dtraa · hòk-sìp sìi · bùk-kon jà gɛ̂ɛ-dtuua wâa mâi rúu gòt-mǎai pʉ̂ʉa hâi pón jàak kwaam-ráp-pìt nai taang aa-yaa mâi dâai · dtɛ̀ɛ tâa sǎan hěn wâa · dtaam sà-pâap lɛ́ prʉ́t-dtì-gaan · pûu-grà-tam-kwaam-pìt àat jà mâi rúu wâa gòt-mǎai ban-yàt wâa gaan-grà-tam nán bpen kwaam-pìt · sǎan àat à-nú-yâat hâi sà-dɛɛng pá-yaan-làk-tǎan dtɔ̀ɔ sǎan · lɛ́ tâa sǎan chʉ̂ʉa wâa · pûu-grà-tam mâi rúu wâa gòt-mǎai ban-yàt wái chên nán · sǎan jà long-tôot nɔ́ɔi gwàa tîi gòt-mǎai gam-nòt wái sǎm-ràp kwaam-pìt nán piiang dai gɔ̂ɔ-dâai
- Section 64 No person can make an excuse [by saying] that [he] lacks knowledge of law, in order to have [himself] exempted from criminal liability. But if the court finds that, according to [his] nature and circumstances, a person committing an offence might have not known that the law prescribes that the act so committed constitutes an offence, the court may permit [him] to produce evidence before the court, and if the court believes that the offender did not know that the law does prescribe so, the court may impose [upon him] a penalty lighter than that given by the law for such offence to any extent.
- สมควรปรับปรุงกฎหมายอาญาเสียใหม่เพราะตั้งแต่ได้ประกาศใช้กฎหมายลักษณะอาญาในพุทธศักราช ๒๔๕๑ เป็นต้นมา พฤติการณ์ของบ้านเมืองได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นอันมาก
This article is issued from Wiktionary. The text is licensed under Creative Commons - Attribution - Sharealike. Additional terms may apply for the media files.